ในการอ่านค่าความต้านทานนั้น ต้องทราบค่ารหัสแถบสีของแต่ละสีของแต่ละสีก่อน รวมไปถึงค่าความค่าความผิดพลาดของตัวต้านทานด้วย
ค่าความต้านทานโดยส่วนใหญ่จะใช้รหัสแถบสีหรืออาจจะพิมพ์ค่าติดไว้บนตัวต้าน ทาน ถ้าเป็นการพิมพ์ค่าติดไว้บนตัวต้านทานมักจะเป็นตัวต้านทานที่มีอัตราทนกำลัง วัตต์สูง ส่วนตัวต้านทานที่มีอัตราทนกำลังวัตต์ต่ำมักจะใช้รหัสแถบสี ที่นิยมใช้มี 4 แถบสีและ 5 แถบสี
1.หัน แถบสีค่าผิดพลาดไปทางขวามือ (ลักษณะแถบสีค่าผิดพลาดจะมีระยะห่างจากแถบสีอื่นๆ มากที่สุด และจะเป็นสี น้าตาล แดง ทอง และเงิน เท่านั้น ) ยกตัวอย่าง ตัวต้านทาน 4 แถบสี ส่วนใหญ่ค่าผิดพลาดคือสีทอง (ค่าผิดพลาด +- 5% ) ตัวต้านทาน 5 แถบสี ส่วนใหญ่ค่าผิดพลาดคือสีน้าตาล (ค่าผิดพลาด +- 1% )
2.การ อ่านให้อ่านแถบสีไล่จากซ้ายไปขวา แถบสีที่อยู่ก่อนแถบสีค่าผิดพลาด คือแถบสีตัวคูณ ส่วนแถบสีก่อนหน้านั้นให้น้าค่ามาไล่กันตามล้าดับ
3.แปลงค่าหน่วยให้อยู่ในรูปของตัวเลขที่อ่านง่าย
ตารางรหัสค่าสีของตัวต้านทานแบบ 4 แถบสี
การอ่านค่ารหัสแถบสี สำหรับผู้เริ่มต้นศึกษาอาจจะมีปัญหาเรื่องของแถบสีที่ 1 และแถบสีที่ 4 ว่าแถบสีใดคือแถบสีเริ่มต้น ให้ใช้หลักในการพิจารณาแถบสีที่ 1,2 และ 3 จะมีระยะห่างของช่องไฟเท่ากัน ส่วนแถบสีที่ 4 จะมีระยะห่างของช่องไฟมากกว่าเล็กน้อย
อ่านค่ารหัสแถบสีได้ 320 โอห์ม
ตัวต้านทานนี้มีความต้านทาน 320 โอห์ม ค่าผิดพลาด 5 เปอร์เซ็นต์
ตัวต้านทานนี้มีความต้านทาน 320 โอห์ม ค่าผิดพลาด 5 เปอร์เซ็นต์
ตารางรหัสค่าสีของตัวต้านทานแบบ 5 แถบสี
อ่านค่ารหัสแถบสีได้ 482,000 โอห์ม
ตัวต้านทานนี้มีความต้านทาน 482 กิโลโอห์ม ค่าผิดพลาด 1 เปอร์เซ็นต์
ค่าผิดพลาดหมายถึง ความคลาดเคลื่อนจากความเป็นจริง ตัวต้านทานที่มีค่าผิดพลาด 2 % หมายความว่าความต้านทาน 100 โอห์ม ถ้าวัดด้วยมัลติมิเตอร์แล้วอ่านค่าได้ตั้งแต่ 98 โอห์ม ถึง 102 โอห์มถือว่าตัวต้านทานตัวนั้นอยู่ในสถานะปกติใช้งานได้ นอกจากนี้ยังมีตัวต้านทาน ประเภทที่พิมพ์ค่าของความต้านทานไว้บนตัวต้านทานซึ่งในตารางที่ 2.1 และ 2.2 ได้เขียนเป็นอักษรภาษาอังกฤษเอาไว้ แต่ละตัวมีความหมายดังนี้คือ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น